อัตราเร็ว
อัตราเร็วเฉลี่ย เมตร/วินาที
s = ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้
t = เวลาในการเคลื่อนที่
ความเร็ว
ความเร็วเฉลี่ย เมตร/วินาที
s = การขจัดที่ได้
ความเร่ง
เมตร/วินาที2
a = ความเร็วที่เปลี่ยนแปลงของวัตถุที่กำ อ่านเพิ่มเติม
วันพุธที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2559
วิชาฟิสิกส์คืออะไร
ฟิสิกส์
คือวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับมวลสารและพลังงาน อันตรกิริยาของมวลสารและพลังงานประกอบด้วยแขนงย่อย ๆ เช่น กลศาสตร์ ไฟฟ้า ความร้อน แสง การศึกษาในวิชาฟิสิกส์จะมุ่งเน้นหากฎเกณฑ์ต่าง ๆ มาอธิบายปรากฎการณ์ในธรรมชาติ เช่น ทำไมวัตถุจึงตกลงสู่พื้นโลก ทำไมเราจึงมองเห็นวัตถุสิ่งของได้ ทำไมเราเคลื่อนที่ได้ การเคลื่อนที่่นั้นมีกฎเกณฑ์อย่างไร
1. ฟิสิกส์ คือ การศึกษา อ่านเพิ่มเติม
วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2559
การคำนวณแรงเสียดทาน
คำนวณแรงเสียดทาน
1. วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อที่ด้วยความเร็วคงที่ ถ้าวัตถุยั้นมีมวล 120 กิโลกรัม และ ค่าสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจลน์มีค่า 0.22 จะเกิดแรงเสียดทานจลน์ระหว่างวัตถุกับพื้นเท่าใด
2. สมนึกออกแรง 111 นิวตัน ลากวัติถุมวล 555 กิโลกรัม ไปตามพื้นราบ อยากทราบว่า จะเกิดสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานเท่าใด
3. เมื่อออกแรงลากท่อนไม้มวล 10 กิโลกรัม วางอยู่บนพื้นด้วยแรง 40 นิวตัน ท่อนไม้จึงเริ่มเคลื่อนที่ อยากทราบว่า สัมประสิทธิ์ของความเสียดทาน มีค่าเท่าใด
4. จงหาสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานระหว่างท่อนไม้กับพื้น เมื่อออกแรง 5 นิว อ่านเพิ่มเติม
1. วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อที่ด้วยความเร็วคงที่ ถ้าวัตถุยั้นมีมวล 120 กิโลกรัม และ ค่าสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจลน์มีค่า 0.22 จะเกิดแรงเสียดทานจลน์ระหว่างวัตถุกับพื้นเท่าใด
2. สมนึกออกแรง 111 นิวตัน ลากวัติถุมวล 555 กิโลกรัม ไปตามพื้นราบ อยากทราบว่า จะเกิดสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานเท่าใด
3. เมื่อออกแรงลากท่อนไม้มวล 10 กิโลกรัม วางอยู่บนพื้นด้วยแรง 40 นิวตัน ท่อนไม้จึงเริ่มเคลื่อนที่ อยากทราบว่า สัมประสิทธิ์ของความเสียดทาน มีค่าเท่าใด
4. จงหาสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานระหว่างท่อนไม้กับพื้น เมื่อออกแรง 5 นิว อ่านเพิ่มเติม
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน (friction) เป็นแรงที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุหนึ่งพยายามเคลื่อนที่ หรือกำลังเคลื่อนที่ไปบนผิวของอีกวัตถุ เนื่องจากมีแรงมากระทำ มีลักษณะที่สำคัญ ดังนี้
1. เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ
2. มีทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางที่วัตถุเคลื่อนที่หรือตรงข้ามทิศทางของแรงที่พยายามทำให้วัตถุเคลื่อนที่ดังรูป
1. เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ
2. มีทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางที่วัตถุเคลื่อนที่หรือตรงข้ามทิศทางของแรงที่พยายามทำให้วัตถุเคลื่อนที่ดังรูป
รูปแสดงลักษณะของแรงเสียดทาน
ถ้าวาง A อยู่บนวัตถุ B ออกแรง ลากวัตถุ วัตถุ A จะเคลื่อนที่หรือไม่ก็ตาม จะมี อ่านเพิ่มเติม
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
กฎของนิวตัน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน (Sir Isaac Newton) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ
ถือกำเนิดใน ปี ค.ศ.1642 (พ.ศ.2185) นิวตันสนใจดาราศาสตร์
และประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง (Reflecting telescope)
ขึ้นโดยใช้โลหะเงาเว้าในการรวมแสงแทนการใช้เลนส์ในกล้องโทรทรรศน์
แบบหักเหแสง (Refracting telescope) นิวตันติดใจในปริศนาที่ว่า
แรงอะไรทำให้ผลแอปเปิลตกสู่พื้นดินและตรึงดวงจันทร์ไว้กับโลก
สิ่งนี้เองนำเขาไปสู่การค้นพบกฎแรงโน้มถ่วง 3 ข้อ
"วัตถุที่หยุดนิ่งจะพยายามหยุดนิ่งอยู่กับที่ตราบที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทำ
ส่วนวัตถุที่เคลื่อนที่จะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร็วคงที่ตราบที่ไม่มี แรงภายนอกมากระทำเช่นกัน"
นิวตันอธิบายว่า อ่านเพิ่มเติม
|
มวลและความเฉื่อย
มวลและความเฉื่อย
โดยทั่วไปปริมาณที่ใช้บ่งบอกถึงความเฉื่อยของวัตถุเรียกว่า มวล (mass) นั่นคือวัตถุ ที่มีมวลมากการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ ก็เป็นไปได้ยากกว่าวัตถุที่มีมวลน้อย ตัวอย่างเช่น ลูกฟุตบอลมีความเฉื่อยน้อยกว่ารถยนต์ ดังนั้นลูกฟุตบอล จึงมีมวลน้อยกว่ารถยนต์ สำหรับในระบบ SI หน่วยของมวลคือ กิโลกรัม
ในทางฟิสิกส์มวลและน้ำหนัก มีความแตกต่างกัน จากที่ได้กล่าวมาแล้ว มวลของวัตถุ คือปริมาณที่บ่งบอกถึงความเฉื่อยของวัตถุ แต่น้ำหนักเป็นแรงที่เกิดเนื่องจากโลกดึงดูดวัตถุ (จะกล่าวถึงในรายละเอียดต่อไป) ดังนั้น มวลของวัตถุจะเป็นค่าคงที่เสมอ ไม่ว่าจะ อ่านเพิ่มเติม
โดยทั่วไปปริมาณที่ใช้บ่งบอกถึงความเฉื่อยของวัตถุเรียกว่า มวล (mass) นั่นคือวัตถุ ที่มีมวลมากการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ ก็เป็นไปได้ยากกว่าวัตถุที่มีมวลน้อย ตัวอย่างเช่น ลูกฟุตบอลมีความเฉื่อยน้อยกว่ารถยนต์ ดังนั้นลูกฟุตบอล จึงมีมวลน้อยกว่ารถยนต์ สำหรับในระบบ SI หน่วยของมวลคือ กิโลกรัม
ในทางฟิสิกส์มวลและน้ำหนัก มีความแตกต่างกัน จากที่ได้กล่าวมาแล้ว มวลของวัตถุ คือปริมาณที่บ่งบอกถึงความเฉื่อยของวัตถุ แต่น้ำหนักเป็นแรงที่เกิดเนื่องจากโลกดึงดูดวัตถุ (จะกล่าวถึงในรายละเอียดต่อไป) ดังนั้น มวลของวัตถุจะเป็นค่าคงที่เสมอ ไม่ว่าจะ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)